วันพุธที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2556

ความหมายและความสำคัญของ "การพัฒนาระบบสารสนเทศ"


การพัฒนาระบบสารสนเทศ

ความหมายและบทบาทของระบบสารสนเทศ     ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) คือระบบแบบเฉพาะเจาะจงชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นกลุ่มของส่วนประกอบพื้นฐานต่างๆ ที่ทำงานเกี่ยวข้องกันในการเก็บ (นำเข้า), จัดการ (ประมวลผล) และเผยแพร่(แสดงผล) ข้อมูลและสารสนเทศและสนับสนุนกลไกลของผลสะท้อนกลับ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ความจำเป็นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ

            1.  การเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารและการปฏิบัติงาน  ระบบเดิมไม่สามารถให้ข้อมูลหรือทำงานได้ตามต้องการมีการดำเนินงานหลายขั้นตอน  ยุ่งยากในการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำข้อมูลสรุปสำหรับการติดตามการปฏิบัติงานโดยรวมขององค์การ  และไม่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้กับผู้บริหารได้เป็นอย่างดี

            2.  การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี  เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในระบบสารสนเทศปัจจุบันล้าสมัย  ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบมีราคาสูง  เมื่อมีอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนบางอย่างเสียไม่สามารถซ่อมหรือหาอุปกรณ์ทดแทนได้

            3.  การปรับองค์การและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน  ระบบที่ใช้งานอยู่ปัจจุบันมีขั้นตอนการทำงานที่ยุ่งยากซับซ้อนขาดเอกสารอ้างอิงหรือเอกสารที่มีอยู่ไม่ได้มาตรฐาน

ทีมงานพัฒนาระบบ

            1.  คณะกรรมการ (Steering Committee)

            2.  ผู้บริหารโครงการ (Project Manager)

            3.  ผู้บริหารหน่วยงานด้านสารสนเทศ (MIS Manager)

            4.  นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)

            5.  ผู้ชำนาญการทางด้านเทคนิค

            6.  ผู้ใช้และผู้จัดการทั่วไป (User and Manager)

หลักในการ   พัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ

1)  คำนึงถึงเจ้าของและผู้ใช้ระบบ

2)  เข้าถึงปัญหาให้ตรงจุด ซึ่งมีแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นระบบมีขั้นตอนดังนี้

-  ศึกษาทำความเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้น

                         -  รวบรวมและกำหนดความต้องการ

 -  หาวิธีการแก้ปัญหาหลายๆ วิธีและเลือกวิธีที่ดีที่สุด

                         -  ออกแบบและทำการแก้ปัญหาตามวิธีที่เลือก

 -  สังเกตและประเมินผลกระทบจากวิธีแก้ปัญหาที่นำมาใช้ และปรับปรุงวิธีการให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด

3)  กำหนดขั้นตอนหรือกิจกรรมในการพัฒนาระบบ

4)  กำหนดมาตรฐานในการพัฒนาระบบ

5)  ตระหนักว่าการพัฒนาระบบเป็นการลงทุนประเภทหนึ่ง

6)  เตรียมความพร้อมหากจะต้องยกเลิกหรือทบทวนระบบสารสนเทศที่กำลังพัฒนา

7)  แตกระบบสารสนเทศที่จะพัฒนาออกเป็นระบบย่อย

8)  ออกแบบระบบให้สามารถรองรับต่อการขยายหรือการปรับเปลี่ยนในอนาคต

            1.  การเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารและการปฏิบัติงาน  ระบบเดิมไม่สามารถให้ข้อมูลหรือทำงานได้ตามต้องการมีการดำเนินงานหลายขั้นตอน  ยุ่งยากในการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำข้อมูลสรุปสำหรับการติดตามการปฏิบัติงานโดยรวมขององค์การ  และไม่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้กับผู้บริหารได้เป็นอย่างดี
            2.  การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี  เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในระบบสารสนเทศปัจจุบันล้าสมัย  ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบมีราคาสูง  เมื่อมีอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนบางอย่างเสียไม่สามารถซ่อมหรือหาอุปกรณ์ทดแทนได้
            3.  การปรับองค์การและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน  ระบบที่ใช้งานอยู่ปัจจุบันมีขั้นตอนการทำงานที่ยุ่งยากซับซ้อนขาดเอกสารอ้างอิงหรือเอกสารที่มีอยู่ไม่ได้มาตรฐาน
ทีมงานพัฒนาระบบ
            1.  คณะกรรมการ (Steering Committee)
            2.  ผู้บริหารโครงการ (Project Manager)
            3.  ผู้บริหารหน่วยงานด้านสารสนเทศ (MIS Manager)
            4.  นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
            5.  ผู้ชำนาญการทางด้านเทคนิค
            6.  ผู้ใช้และผู้จัดการทั่วไป (User and Manager)
หลักในการ   พัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ
1)  คำนึงถึงเจ้าของและผู้ใช้ระบบ
2)  เข้าถึงปัญหาให้ตรงจุด ซึ่งมีแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นระบบมีขั้นตอนดังนี้
-  ศึกษาทำความเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้น
                         -  รวบรวมและกำหนดความต้องการ
 -  หาวิธีการแก้ปัญหาหลายๆ วิธีและเลือกวิธีที่ดีที่สุด
                         -  ออกแบบและทำการแก้ปัญหาตามวิธีที่เลือก
 -  สังเกตและประเมินผลกระทบจากวิธีแก้ปัญหาที่นำมาใช้ และปรับปรุงวิธีการให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
3)  กำหนดขั้นตอนหรือกิจกรรมในการพัฒนาระบบ
4)  กำหนดมาตรฐานในการพัฒนาระบบ
5)  ตระหนักว่าการพัฒนาระบบเป็นการลงทุนประเภทหนึ่ง
6)  เตรียมความพร้อมหากจะต้องยกเลิกหรือทบทวนระบบสารสนเทศที่กำลังพัฒนา
7)  แตกระบบสารสนเทศที่จะพัฒนาออกเป็นระบบย่อย
8)  ออกแบบระบบให้สามารถรองรับต่อการขยายหรือการปรับเปลี่ยนในอนาคต


            1.  การเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารและการปฏิบัติงาน  ระบบเดิมไม่สามารถให้ข้อมูลหรือทำงานได้ตามต้องการมีการดำเนินงานหลายขั้นตอน  ยุ่งยากในการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำข้อมูลสรุปสำหรับการติดตามการปฏิบัติงานโดยรวมขององค์การ  และไม่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้กับผู้บริหารได้เป็นอย่างดี
            2.  การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี  เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในระบบสารสนเทศปัจจุบันล้าสมัย  ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบมีราคาสูง  เมื่อมีอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนบางอย่างเสียไม่สามารถซ่อมหรือหาอุปกรณ์ทดแทนได้
            3.  การปรับองค์การและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน  ระบบที่ใช้งานอยู่ปัจจุบันมีขั้นตอนการทำงานที่ยุ่งยากซับซ้อนขาดเอกสารอ้างอิงหรือเอกสารที่มีอยู่ไม่ได้มาตรฐาน
ทีมงานพัฒนาระบบ
            1.  คณะกรรมการ (Steering Committee)
            2.  ผู้บริหารโครงการ (Project Manager)
            3.  ผู้บริหารหน่วยงานด้านสารสนเทศ (MIS Manager)
            4.  นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
            5.  ผู้ชำนาญการทางด้านเทคนิค
            6.  ผู้ใช้และผู้จัดการทั่วไป (User and Manager)
หลักในการ   พัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ
1)  คำนึงถึงเจ้าของและผู้ใช้ระบบ
2)  เข้าถึงปัญหาให้ตรงจุด ซึ่งมีแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นระบบมีขั้นตอนดังนี้
-  ศึกษาทำความเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้น
                         -  รวบรวมและกำหนดความต้องการ
 -  หาวิธีการแก้ปัญหาหลายๆ วิธีและเลือกวิธีที่ดีที่สุด
                         -  ออกแบบและทำการแก้ปัญหาตามวิธีที่เลือก
 -  สังเกตและประเมินผลกระทบจากวิธีแก้ปัญหาที่นำมาใช้ และปรับปรุงวิธีการให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
3)  กำหนดขั้นตอนหรือกิจกรรมในการพัฒนาระบบ
4)  กำหนดมาตรฐานในการพัฒนาระบบ
5)  ตระหนักว่าการพัฒนาระบบเป็นการลงทุนประเภทหนึ่ง
6)  เตรียมความพร้อมหากจะต้องยกเลิกหรือทบทวนระบบสารสนเทศที่กำลังพัฒนา
7)  แตกระบบสารสนเทศที่จะพัฒนาออกเป็นระบบย่อย
8)  ออกแบบระบบให้สามารถรองรับต่อการขยายหรือการปรับเปลี่ยนในอนาคต


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น